บิลที่ใช้ไม่ได้ ทิ้งเลย หรือ บันทึกบัญชีดี

บิลที่ใช้ไม่ได้ ทิ้งเลย หรือ บันทึกบัญชีดี


เอกสารประกอบการบันทึกค่าใช้จ่ายแบบไหนที่ไม่สามารถใช้ได้

ค่าใช้จ่ายที่ไม่ถือให้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษี

  • รายจ่ายซึ่งมิได้เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกิจการ, เป็นการส่วนตัว, เสน่หา
  • รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
  • รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง

บิลค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถนำมาใช้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษี >> บันทึกบัญชีไป ก็ไม่ช่วยทำให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลน้อยลง

ทำไมถึงไม่ควรทิ้งบิลที่ใช้ได้ทางภาษี และควรบันทึกบัญชี

  • การบันทึกค่าใช้จ่ายทุกรายการ ทำให้เงินของกิจการตรงกับความเป็นจริง และลดปัญหาเงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ
  • แม้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะไม่ช่วยทำให้เสียภาษีเงินได้น้อยลง แต่ก็ทำให้กำไรสะสมของกิจการลดลง ทำให้เราประหยัดภาษีเงินปันผล (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย10%)

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!


อบคุณบทความจาก :: kknaccounting
 385
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

กรมสรรพากรขยายเวลามาตรการภาษีการใช้งานระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (E-Tax) ออกไปอีก 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2568 (จากเดิมที่สิ้นสุดเมื่อ 31 ธันวาคม 2565) โดยออกเป็นร่างกฎหมาย รวม 2 ฉบับ สาระสำคัญของร่างกฎหมาย 2 ฉบับ ที่เกี่ยวกับการขยายระยะเวลามาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้
เงินสดย่อย หมายถึง เงินสดจำนวนหนึ่งที่กิจการเบิกธนาคารมาเก็บไว้กับแคชเชียร์ (หรือผู้รักษาเงินสดย่อย)  เพื่อกิจการจะได้มีไว้ใช้จ่าย  สำหรับรายการที่มีจำนวนไม่สูงมากนัก 
เงินปันผล (dividend) เป็นค่าตอบแทนที่บริษัทจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งมักเป็นการกระจายกำไร เมื่อบริษัทได้กำไรหรือส่วนเกิน บริษัทสามารถนำไปลงทุนในธุรกิจต่อ (เรียก กำไรสะสม) หรือสามารถจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นก็ได้ บริษัทอาจสงวนกำไรหรือส่วนเกินส่วนหนึ่ง
ในปัจจุบันผู้ที่สามารถทำการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ในฐานะผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้
การจะเข้าสู่วงจรการทำธุรกิจ เราควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบธุรกิจ “บุคคลธรรมดา” หรือ “นิติบุคคล” เพราะ 2 รูปแบบนี้มีความต่างกันทั้งในเรื่องข้อดี ข้อเสีย รวมถึงการจัดทำบัญชี และภาษี ที่ต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งจะตัดสินใจเลือกดำเนินธุรกิจในรูปแบบใด ควรศึกษาข้อมูลเหล่านี้ให้ดีก่อน
การจ่ายเงินได้พึงประเมินที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย หากจำนวนเงินค่าบริการหรือค่าจ้างที่ต้องจ่ายแต่ละครั้งไม่ถึง 1,000 บาท ผู้จ่ายเงินจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและออกใบรับรองหักภาษี ณ ที่จ่าย (50 ทวิ) หรือไม่

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์