สรุป Timeline สำหรับยื่นภาษีและงบการเงิน 2566

สรุป Timeline สำหรับยื่นภาษีและงบการเงิน 2566

สำหรับ "บริษัทจำกัด" ที่มีวันสิ้นรอบปีบัญชี คือ 31 ธันวาคม 2566 จะต้องปิดงบการเงิน ยื่นงบการเงิน และยื่นภาษีบริษัทประจำปี ภายในวันสุดท้ายดังนี้



ก่อนวันที่ 29 ก.พ.2567

  • ยื่นภ.ง.ด.1ก (สรุปการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง ภาษีของพนักงาน ฯลฯ ตลอดปี)

ก่อนวันที่ 30 เม.ย. 2567

  • ประชุมผู้ถือหุ้น (4 เดือนหลังวันสิ้นรอบปัญชี)
ก่อนวันที่ 31 มี.ค. 2567
  • ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.90/91)

ก่อนวันที่ 14 พ.ค. 2567

  • ยื่นรายชื่อผู้ถือหุ้น (บ.อ.จ.5) (ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น)

ก่อนวันที่ 30 พ.ค. 2567

  • ยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50) (150 วันหลังวันสิ้นรอบ)

ก่อนวันที่ 31 พ.ค. 2567

  • ยื่นงบการเงิน (ภายใน 1 เดือน นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น)

ที่มา เพจ บัญชีรู้ไว้ใช่ว่า
 114
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ประเภทของธุรกิจสามารถแบ่งได้เป็นแบบบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สำหรับคนที่ทำธุรกิจ ต้องทราบว่าธุรกิจของตนเองจัดอยู่ในประเภทไหน
ในอดีตที่ผ่านมา ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวัตถุและเทคโนโลยียังไม่มากนัก จึงทำให้การทำงานส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับแรงงานมนุษย์ ต่อมามนุษย์ได้มีการพัฒนาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างมากมาย และเกิดความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ นอกจากนั้นยังเกิดการขยายตัวขององค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน...
หมายเหตุประกอบงบการเงิน คือ รายการที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมจากงบการเงิน เช่น  นโยบายการทำบัญชีและเกณฑ์การจัดทำงบการเงิน ข้อมูลเพิ่มเติมที่ไม่ได้แสดงอยู่ในงบการเงิน  นโยบายการทำบัญชี เป็นสิ่งที่ทำให้งบการเงินของแต่ล่ะกิจการมีความแตกต่างกันดังนั้นผู้ใช้งาน งบการเงินจะต้องอ่านก่อนว่ากิจการนั้น ใช้เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน แบบใดก่อนที่จะอ่านงบการเงิน
เงินฝากธนาคาร (Bank Commercial) 5 ประเภท มี กี่ แบบ อะไรบ้าง 
งบเปล่า คืองบการเงินของธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่มีการซื้อขาย ซึ่งถ้าตลอดปีงบการเงินไม่มีการเคลื่อนไหวเลย ผู้ประกอบการก็ยังต้องมีหน้าที่ปิดงบการเงินส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรประจำทุกปี หรือเรียกว่าการปิดงบเปล่าส่ง
อากร หมายถึง เงินรายได้ของประเทศที่กฎหมายกำหนดให้กรมศุลกากรเป็นหน่วยงานจัดเก็บจากการนำของเข้ามาในหรือส่งของออกไปนอกราชอาณาจักร หรือ จากกรณีอื่นๆ ตามที่บัญญัติในกฎหมายศุลกากรและกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร ตลอดจนกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอากรศุลกากร

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์