จ้างทำบัญชีมีข้อดีอย่างไร? ทำไมควรจ้างสำนักงานบัญชี?

จ้างทำบัญชีมีข้อดีอย่างไร? ทำไมควรจ้างสำนักงานบัญชี?


ข้อดีของการจ้างสำนักงานบัญชี / บริษัทรับทำบัญชี คือ

1. ราคาถูกกว่าการจ้างพนักงานประจำ

การจ้างสำนักงานบัญชี หรือจ้างบริษัททำบัญชี มีต้นทุนที่ต่ำกว่าการจ้างพนักงานประจำมากๆ เช่น ถ้าจ้างพนักงานบัญชีประจำ  พนักงาน ป.ตรี บัญชี 1 คน เริ่มต้นที่ 15,000บาท/เดือน ซึ่งเรทเงินเดือนนี้คือเรทแ (จากประสบการณ์ส่วนตัวของผู้เขียนบอกได้เลยค่ะว่า โลกของตำราเรียนนั้น เล็กกว่าชีวิตจริงมากๆๆๆๆ)

2. ลดความผิดพลาดของการทำบัญชี ยื่นภาษี

สำนักงานบัญชีมีความเชี่ยวชาญ และเปี่ยมไปด้วยประสบการณ์ด้านบัญชีและภาษี จึงลดความผิดพลาดของการทำบัญชี ยื่นภาษีได้ (อย่างไรก็ตาม ขึ้นกับปัจจัยที่คุณใช้ในการตัดสินใจเลือกจ้างคือ ความเชี่ยวชาญ/คุณภาพ หรือ ราคาถูกเป็นหลัก นะค้า)

3. ได้ที่ปรึกษาส่วนตัว

สำนักงานบัญชี ยังเป็นที่ปรึกษาให้แก่เจ้าของกิจการในประเด็นบัญชี-ภาษี ต่างๆได้ด้วย  การมีที่ปรึกษาวางแผนที่ดีจะช่วยคุณประหยัดภาษีได้

4. มีเวลาทุ่มเทกับธุรกิจได้เต็มที่

การจ้างสำนักงานบัญชีจะช่วยแบ่งเบาภาระของเจ้าของได้มาก เจ้าของกิจการไม่ต้องเสียเวลา ไม่ต้องปวดหัวกับเรื่องบัญชี-ภาษี  ทำให้เจ้าของมีเวลาไปโฟกัส ทุ่มเทกับการทำธุรกิจได้เต็มที่


ที่มา : https://accountingcenter.co

 618
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

บัญชีลูกหนี้กรรมการ หรือ เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ ถือเป็นสินทรัพย์ของกิจการ ซึ่งมีกรรมการเป็นผู้ยืมเงินไป และจะเคลียร์บัญชีนี้ได้ กรรมการจะต้องจ่ายชำระเงินคืนกลับมาแก่บริษัทเสียก่อน เรามักจะเจอรายการนี้บ่อยๆ ในงบแสดงฐานะการเงิน บ้างก็จัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน บ้างก็เป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
ก่อนจะมาเป็น “หนี้สูญ” ต้องผ่านการบันทึกบัญชีลูกหนี้มาก่อน ซึ่งเกิดจากการขายที่ให้เครดิตแก่ลูกหนี้ ที่เรียกกันทั่วไปคือการขายเชื่อ หรืออาจเป็นการขายผ่อนชำระ รวมถึงการรับชำระเป็นงวด ๆ ในลักษณะการเช่าซื้อหรือลีสซิ่ง นอกจากลูกหนี้ที่เกิดจากการค้าแล้วอาจมีลูกหนี้ในลักษณะอื่น ๆ ทั้งนี้ กิจการที่มีลูกหนี้ย่อมมีสิทธิในการเรียกให้ลูกหนี้นั้นชำระเงินตามมูลหนี้ที่เกิดขึ้นตามที่ได้ตกลงกันไว้
ก่อนจะไปรู้จักกับ 50 ทวิ เรามารู้จัก ภาษีหัก ณ ที่จ่ายว่าคืออะไร? กันก่อนดีกว่า แล้วทำไม่ต้องหัก ณ ที่จ่าย ?
ในช่วงนี้ (มกราคม-มีนาคม) ของทุกปี เป็นช่วงเวลาที่ทุกคนที่มีเงินได้ต้องยื่นเสียภาษี สำหรับผู้ที่เริ่มทำงานใหม่ ๆ อาจมีข้อสงสัยว่า ภาษีคำนวณอย่างไร แล้วเมื่อไรที่เราจะต้องเริ่มเสียภาษี มาดูกันค่ะ
“งวดบัญชี หรือรอบระยะเวลาบัญชี” (Accounting Period) ของกิจการต่างๆนั้นจะเป็นระยะเวลานวนเท่าใดก็ได้เช่นงวด 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือนหรือ 1 ปีแต่จะนานกว่า 1 ปีไม่ได้ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย
เงินสดย่อย หมายถึง เงินสดจำนวนหนึ่งที่กิจการเบิกธนาคารมาเก็บไว้กับแคชเชียร์ (หรือผู้รักษาเงินสดย่อย)  เพื่อกิจการจะได้มีไว้ใช้จ่าย  สำหรับรายการที่มีจำนวนไม่สูงมากนัก 

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์