sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ขอคืนเงินค่าอากรแสตมป์ได้ในกรณีใด
ย้อนกลับ
เมื่อใดที่มีการทางสัญญาทางธุรกิจต่างๆเช่น สัญญาเช่า สัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน สัญญาจ้างทาของ สัญญากู้ยืมเงิน เป็นต้น กฎหมาย
กำหนดให้เสียค่าอากรแสตมป์โดยเป็นอากรที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการำตราสารต่างๆ ตามลักษณะที่ได้กำหนดเอาไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ท้ายประมวลกฎหมายรัษฎากร นอกจากนี้ยังมีความสำคัญเป็นอย่างมากในตราสารที่จะใช้อ้างเป็นพยานหลักฐานในทางคดี ซึ่งจะต้องมีการติดอากรแสตมป์ตามอัตราที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย ปัจจุบันกำหนดให้มีตราสารที่ต้องปิดอากรแสตมป์จำนวนทั้งสิ้น 28ลักษณะ ตามที่ปรากฏในช่อง “ลักษณะตราสาร”ของบัญชีอากรแสตมป์ โดยต้องปิดแสตมปบริบูรณ์ตามอัตราที่กำหนดไว้ในบัญชีนั้น และโดยที่ตราสารเกือบทุกลักษณะจำเป็นต้องมีการกระทำซึ่งคำว่า “กระทำ” เมื่อใช้เกี่ยวกับตราสารหมายความว่า การลงลายมือชื่อตามบทบัญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในทางปฏิบัติ หากบุคคลได้ทำสัญญาและกรณีสัญญาใดที่ทำขึ้นนั้น เข้าลักษณะเป็นตราสาร
ตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ได้เกิดขึ้นและได้เสียค่าอากรแสตมป์ไปแล้ว ต่อมาเป็นกรณีที่ได้เสียไว้เกินหรือไม่มีหน้าที่ต้องเสีย ผู้ที่ได้ชำระอากร
จะมีสิทธิขอคืนค่าอากรได้หรือไม่ ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้างตามที่ประมวลรัษฎากรกำหนดพิจารณาได้ดังนี้
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
1. ผู้ใดได้เสียค่าอากรหรือค่าเพิ่มอากรเกินไปไม่น้อยกว่า 2 บาท
2. ให้ยื่นคำร้องภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันเสียอากรหรือค่าเพิ่มอากร
3. คำร้องต้องประกอบด้วยคำชี้แจงหรือเอกสาร ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรืออธิบดีเห็นสมควรให้ยื่นการสนับสนุนคำร้อง
4. อธิบดีเห็นว่าเกินไปจริงผลตามกฎหมาย คืนค่าอากรหรือค่าเพิ่มอากรที่เกินไปนั้นแก่ผู้เสียอากรได้
ข
อบคุณบทความจาก ::
สรรพากรสาส์น
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!
อากรแสตมป์
786
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
ทำความรู้จักกับ ภ.พ. 20 คืออะไร
ทำความรู้จักกับ ภ.พ. 20 คืออะไร
ภ.พ. 20 เป็นแบบฟอร์มที่ใช้ในการขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีสำหรับผู้ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีในประเทศไทย โดยผู้เสียภาษีที่จำเป็นต้องขอเลขประจำตัวผู้เสียภาษีประกอบด้วยบุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีตามกฎหมาย
ลูกหนี้ไม่ชำระค่าสินค้าจะทำอย่างไร
ลูกหนี้ไม่ชำระค่าสินค้าจะทำอย่างไร
ลูกหนี้ไม่ชำระค่าสินค้าจะทำอย่างไรประเด็นปัญหาลูกหนี้ไม่จ่ายค่าสินค้า และมาตรการแก้ไขเฉพาะหน้า
รายได้ (income) หมายถึง?
รายได้ (income) หมายถึง?
รายได้มีความหมายในหลายด้าน เช่นความหมายทางธุรกิจซึ่งเป็นผลกำไรหรือรายได้ที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ และความหมายของรายได้สำหรับองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ซึ่งความหมายของรายได้มีความแตกต่างกันดังนี้
การเริ่มต้นจัดทำบัญชี ต้องทำอะไรบ้าง
การเริ่มต้นจัดทำบัญชี ต้องทำอะไรบ้าง
การเริ่มต้นจัดทำบัญชีของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และบริษัทจำกัดนั้น จะต้องเริ่มจากตรงไหนก่อน และทำอะไรบ้าง เป็นคำถามที่หลายท่านสงสัย ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการ หรือแม้แต่กระทั่งนักบัญชีมือใหม่เอง
หากยื่นแบบแล้วมีภาษีต้องชำระจะขอผ่อนชำระภาษีได้หรือไม่ ?
หากยื่นแบบแล้วมีภาษีต้องชำระจะขอผ่อนชำระภาษีได้หรือไม่ ?
ถ้ามีภาษีที่ต้องชำระจำนวนตั้งแต่ 3,000 บาทขึ้นไป ทั้งภาษีครึ่งปีและภาษีสิ้นปี ผู้เสียภาษีมีสิทธิ ขอผ่อนชำระภาษีได้เป็น 3 งวดเท่า ๆ กัน โดยไม่ต้องเสียเงินเพิ่มใดๆ ผู้เสียภาษีอาจติดต่อขอผ่อนชำระได้ที่ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาโดยใช้แบบบ.ช. 35 จำนวน 1 ชุด 3 แผ่น ข้อความเหมือนกันดังนี้
ค่าใช้จ่าย (Expenses) ประเภทและความสำคัญ
ค่าใช้จ่าย (Expenses) ประเภทและความสำคัญ
ค่าใช้จ่าย (Expenses)
เป็นคำที่ใช้ในด้านการเงินและการจัดการธุรกิจ หมายถึง ทรัพยากรทางการเงินหรือสินทรัพย์ที่ถูกใช้ไปเพื่อการดำเนินให้ได้มาซึ่งการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจการให้เป็นไปอย่างราบรื่น ค่าใช้จ่ายมีบทบาทสำคัญในการบริหารจัดการทางการเงิน เนื่องจากช่วยสะท้อนถึงการใช้ทรัพยากรและแสดงถึงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com