sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำบัญชีด้วยโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป
ย้อนกลับ
ในอดีตที่ผ่านมา ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวัตถุและเทคโนโลยียังไม่มากนัก จึงทำให้การทำงานส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับแรงงานมนุษย์ ต่อมามนุษย์ได้มีการพัฒนาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างมากมาย และเกิดความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ นอกจากนั้นยังเกิดการขยายตัวขององค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดการผลิตวัตถุและเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆขึ้นมาใช้ งานแทนแรงงานของมนุษย์และก่อให้เกิดความต้องการเครื่องมือที่จะนำมาช่วยใน การเพิ่มผลผลิต ช่วยในการลดต้นทุน ช่วยเก็บรักษาข้อมูล ช่วยในการประมวลผลข้อมูลที่ดี และสามารถใช้เครื่องมือนั้นในการวิเคราะห์งานขององค์กรต่าง ๆ ซึ่งนับวันจะเจริญเติบโตและมีความซับซ้อนมากขึ้นก่อให้เกิดผลกำไรสูงขึ้นดังนั้น ผู้รับทำบัญชีจึงได้พัฒนาการทำบัญชีด้วยระบบคอมพิวเตอร์มากขึ้น ซึ่งจะทำให้ได้ประโยชน์ดังนี้
1. ประหยัดค่าใช้จ่าย
2. ประหยัดเวลา ได้งานที่รวดเร็วและถูกต้อง
3. แสดงรายงานได้รวดเร็ว อ่านง่ายและชัดเจน
4. ทันต่อการส่งรายงานให้หัวหน้างาน ทันต่อการส่งให้กรมสรรพากรกรณีที่เป็นรายงานภาษีต่างๆ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าปรับหากส่งล่าช้า
5. ได้รูปแบบงบการเงินตรงตามที่ผู้ใช้งานต้องการ
6. ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร ซึ่งมีผลต่อกำไรของกิจการ
7. ก่อให้เกิดความปลอดภัยของข้อมูล และทำให้ความลับของกิจการไม่รั่วไหล
8. ทำให้ฝ่ายบริหารตัดสินใจได้ง่าย
ผู้รับทำบัญชี
บัญชี
การทำบัญชี
1860
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
หากยื่นภาษี 2565 ล่าช้ามีบทลงโทษอย่างไร
หากยื่นภาษี 2565 ล่าช้ามีบทลงโทษอย่างไร
กรณีที่บุคคลใดยื่นแบบภาษีภายในกำหนดแต่ชำระภาษีไม่ครบถ้วน หรือยื่นแบบภาษีล่าช้า ละเลย หรือหลีกเลี่ยงการยื่นแบบภาษี จะต้องเสียเงินเพิ่มและเบี้ยปรับตามกฎหมายกำหนด และหากฝ่าฝืน หลีกเลี่ยง ไม่ยอมชำระจะต้องรับโทษทางอาญาด้วย บทลงโทษมีดังนี้
กองทุนลดหย่อนภาษีได้เท่าไร
กองทุนลดหย่อนภาษีได้เท่าไร
ลดหย่อนภาษีด้วยกองทุน
การบัญชีของกิจการขนาดเล็ก
การบัญชีของกิจการขนาดเล็ก
กิจการขนาดเล็กมักมีข้อจำกัดเรื่องเงินทุนหมุนเวียนรวมทั้งกำลังคน การจัดวางพนักงานในหน้าที่ต่างๆจึงไม่ค่อยมีการแบ่งแยกหน้าที่ พนักงานหนึ่งคนต้องรับผิดชอบงานหลายอย่างและอย่าได้หวังว่าจะมีแผนกต่างๆเหมือนองค์กรขนาดใหญ่
เปิดร้านอาหาร.. จดบริษัทหรือไม่จดดีกว่ากัน มี "ภาษี" อะไรบ้าง มาดูกัน
เปิดร้านอาหาร.. จดบริษัทหรือไม่จดดีกว่ากัน มี "ภาษี" อะไรบ้าง มาดูกัน
มาดูในข้อแตกต่างของการจดทะเบียนที่หลายคนสงสัยว่า จดแบบบุคคลธรรมดา กับ จดแบบนิติบุคคล ต่างกันอย่างไร หรือ จะมีข้อดี ข้อเสียอย่างไร ทำความเข้าใจก่อนเริ่มธุรกิจ "ร้านอาหาร" โดยเฉพาะถ้าเปิดเป็นร้านอาหารแบบจริงจัง หรือมีหุ้นส่วนร่วมด้วย จะเสียภาษีรูปแบบบุคคลธรรมได้หรือไม่ หรือควรจดทะเบียนบริษัท แต่ละแบบต้องทำอย่างไร ? แล้วแบบไหนใช้ประโยชน์ทางภาษีได้มากกว่ากัน
กรมสรรพากรมีอำนาจ ยึดทรัพย์ อายัดบัญชีธนาคาร ได้หรือไม่
กรมสรรพากรมีอำนาจ ยึดทรัพย์ อายัดบัญชีธนาคาร ได้หรือไม่
ตามมาตรา 12 แห่งประมวลรัษฎากร หากบุคคลใดมีภาษีอากรค้าง กรมสรรพากรสามารถยึดหรืออายัดทรัพย์และขายทอดตลาดได้เลยโดยยังไม่ต้องฟ้องต่อศาลก่อนก็ได้ และระยะเวลาที่มีอํานาจทําได้ก็เป็นเวลานานถึง 10 ปี
ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)
ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)
ตัวอย่างการคำนวณเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 81/2542
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com