sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด
ย้อนกลับ
ข้อเปรียบเทียบ ระหว่าง นิติบุคคลอาคารชุด กับ นิติบุคคล บริษัทฯ จำกัด มีข้อแตกต่างกันดังนี้
1. การก่อตั้ง
- นิติบุคคลอาคารชุด : กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์
2. วัตถุประสงค์
- นิติบุคคลอาคารชุด : กิจกรรมเพื่อดูแลทรัพย์ส่วนกลาง ไม่มุ่งค้าหากำไร
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กิจกรรมการค้าเพื่อมุ่งค้าหากำไร
3. ผู้ก่อตั้ง
- นิติบุคคลอาคารชุด : เมื่อมีเจ้าของร่วมมากกว่า 1 รายในอาคารชุด
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ผู้ก่อการ 7 ท่าน
4. ผู้เป็นเจ้าของ
- นิติบุคคลอาคารชุด : เจ้าของร่วมทั้งหมด ในอาคารชุด
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ผู้ถือหุ้นในบริษัทฯ
5. ผู้มีอำนาจผูกพันธ์
- นิติบุคคลอาคารชุด : ผู้จัดการนิติบุคคล (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรรมการผู้จัดการ หรือ กรรมการ ที่บริษัทฯ กำหนด
6. ผู้บริหาร
- นิติบุคคลอาคารชุด : กรรมการอาคารชุด (เลือกตั้งในที่ประชุมใหญ่)
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : กรรมการบริษัทฯ
7. ด้านภาษี
- นิติบุคคลอาคารชุด : มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ได้ ไม่ต้องยื่นภาษีประจำปี
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ต้องยื่นภาษีประจำปี
8. ด้านบัญชี /การเงิน
- นิติบุคคลอาคารชุด : รับรองงบดุล/ บัญชี โดยที่ประชุมใหญ่ ไม่ต้องส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบรับอนุญาติ ส่งงบดุลให้กับหน่วยงานภาครัฐ
9. การบริหารการเงิน
- นิติบุคคลอาคารชุด : ตามนโยบายคณะกรรมการ และข้อบังคับ
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ตามนโยบายของผู้บริหาร
10. กฎหมายหลักที่บังคับใช้
- นิติบุคคลอาคารชุด : พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2551 (ฉบับที่4 )
- นิติบุคคลบริษัทฯ จำกัด : ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!!
บทความโดย
: www.thaicondoonline.com
ประกาศบทความโดย
:
http://www.prosmes.com
998
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
การหักภาษี ณ ที่จ่าย แบ่งจากผู้รับเงินได้เป็น 2 ประเภท คือ
ภาษีครึ่งปี คำนวณอย่างไร
ภาษีครึ่งปี คำนวณอย่างไร
เจ้าของกิจการย่อมต้องทราบดีว่านิติบุคคลมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลปีละ 2 ครั้ง คือ รอบครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) และรอบสิ้นปี (ภ.ง.ด. 50) ยกเว้นเฉพาะนิติบุคคลจะไม่ต้องยื่นภาษีเงินได้รอบครึ่งปีก็ต่อเมื่อเริ่มประกอบกิจการเป็นปีแรก หรือ ยกเลิกกิจการ ซึ่งทำให้มีรอบระยะเวลาบัญชีไม่ครบ 12 เดือน
วงจรในการจัดทำบัญชี
วงจรในการจัดทำบัญชี
ถึงแม้ว่านักบัญชีที่จบใหม่ได้ถูกสอนให้เรียนรู้ในวงจรการจัดทำบัญชี แต่อย่างไรก็ดี ก็ควรสอนให้นักบัญชีจบใหม่เข้าใจลำดับขั้นตอนวงจรในการจัดทำบัญชีให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งประกอบด้วยอะไรบ้าง
สรุปข้อแตกต่างทางบัญชี และภาษี ที่ผู้ทำบัญชี SMEs ควรรู้
สรุปข้อแตกต่างทางบัญชี และภาษี ที่ผู้ทำบัญชี SMEs ควรรู้
ในการทำบัญชีนั้น ผู้ทำบัญชีต้องจัดทำตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน แต่สำหรับการยื่นภาษีในทุกๆปี ต้องแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายโดยใช้หลักเกณฑ์ประมวลรัษฎากร และเป็นที่แน่นอนว่า การใช้หลักเกณฑ์ที่แตกต่างกัน ย่อมทำให้มีผลต่างเกิดขึ้นระหว่างบัญชีและภาษี
วงจรบัญชี (Accounting Cycle)
วงจรบัญชี (Accounting Cycle)
วงจรบัญชี (Accounting Cycle) คือกระบวนการทั้งหมดที่ใช้ในการบันทึกและจัดทำรายงานทางการเงินของธุรกิจในรอบระยะเวลาหนึ่ง (มักเป็นรายเดือนหรือรายปี) เพื่อให้ข้อมูลทางการเงินถูกต้อง ครบถ้วน และตรวจสอบได้
หากยื่นภาษี 2565 ล่าช้ามีบทลงโทษอย่างไร
หากยื่นภาษี 2565 ล่าช้ามีบทลงโทษอย่างไร
กรณีที่บุคคลใดยื่นแบบภาษีภายในกำหนดแต่ชำระภาษีไม่ครบถ้วน หรือยื่นแบบภาษีล่าช้า ละเลย หรือหลีกเลี่ยงการยื่นแบบภาษี จะต้องเสียเงินเพิ่มและเบี้ยปรับตามกฎหมายกำหนด และหากฝ่าฝืน หลีกเลี่ยง ไม่ยอมชำระจะต้องรับโทษทางอาญาด้วย บทลงโทษมีดังนี้
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com