ภาษีมูลค่าเพิ่ม เจ้าของกิจการ เสียจริงหรือ ?

ภาษีมูลค่าเพิ่ม เจ้าของกิจการ เสียจริงหรือ ?


ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ Vat 7% ทำไมถึงต้องเก็บ ?

-เพื่อแบ่งภาระในการเก็บภาษีของรัฐบาล

ภาษีมูลค่าเพิ่มจะเก็บจากลูกค้าหรือผู้บริโภค คือ ราคาของ*7% +ราคาของ = ราคาของที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

เช่น ซื้อของ 100 บาท 100*7% + 100 =107 

100 คือ ราคาของสินค้า

7     คือ ภาษี ที่จะเสียให้รัฐบาล

ภาษีซื้อกับภาษีขายต่างกันยังไง

ภาษีซื้อ เกิดจากการที่เราไปซื้อของหรือสินค้าต่างๆนั้นจะเป็นภาษีซื้อ

ภาษีขาย เกิดจากการที่เราขายสินค้าได้และต้องนำส่งให้กรมสรรพากร

คิดภาษีมูลค่าเพิ่มยังไง

วิธีการคิด ภาษีขาย - ภาษีซื้อ = ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเสียหรือได้คืน

ถ้าเดือนนั้นกิจการซื้อของมากกว่าขายของในเดือนนั้น ภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะไม่ต้องเสีย

การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มนั้น เป็น การเรียกเก็บจากผู้บริโภค และกิจการมีหน้าที่เพียงนำส่งเท่านั้น


ที่มา : Link
 454
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

สำหรับหลักการบัญชีคู่นั้นหมายถึงการบันทึกรายการบัญชีทั้งสองด้าน ด้วยการเดบิตและเครดิตอย่างน้อยสองบัญชีขึ้นไป ด้วยการนำสมการบัญชีมาใช้ด้วยการลงทั้งสองด้านนั้นจะต้องมียอดเท่ากัน แต่ไม่จำเป็นที่จะต้องมีจำนวนบัญชีที่เท่ากัน
ในอดีต ภาพของนักบัญชีคือบุคคลที่ไม่ค่อยสมาคมกับใครเพราะวันทั้งวันเคร่งเครียดกับการ เดบิท เครดิต ตัวเลข บางครั้งใช้เวลาทั้งวันเพื่อจะควานหาตัวเลขที่ขาดหายจากบัญชีไปเพียงบาทสองบาท เพื่อให้ปิดงบลงตัว
หลักฐานที่แสดงถึงการปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชี  หลักฐานที่ได้รับจากการปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชี และสิ่งที่ตรวจพบจากการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีภาษีอากร  ซึ่งได้แก่ เอกสารที่ผู้สอบบัญชีภาษีอากรได้จัดทำขึ้นเอง  เอกสารที่ได้รับมาจากกิจการที่ทำการตรวจสอบ  หรือที่ขอจากบุคคลภายนอกกิจการ ทั้งนี้ เพื่อใช้ในการจัดทำรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี
เอาแบบนี้ก่อนดีกว่า ถ้าเริ่มจากคำถามว่า ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารแบบไหนแบบไม่เสียภาษี พรี่หนอมอยากให้จำง่ายๆ ก่อนเลย 3 ตัว คือ ดอกเบี้ยที่เป็นเผื่อเรียกของธนาคารออมสิน กับ  ดอกเบี้ยออมทรัพย์ของธ.ก.ส. และอีกตัวคือดอกเบี้ยออมทรัพย์ของสหกรณ์
การยื่นภาษี กับ เสียภาษี เป็นคนละเรื่องกัน เราต้อง "ยื่นภาษี" เมื่อมี "รายได้ (เงินได้)" ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่เราต้อง "เสียภาษี" เมื่อคำนวณแล้ว "เงินได้สุทธิ" มีจำนวนมากกว่า 150,000 บาท ซึ่งเป็นจำนวนที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี
การวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) คือ การกำหนดแนวทางการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เพื่อการปฏิบัติในอนาคตเกี่ยวกับรายการทางการเงิน (Financial Transactions) อาทิ รายการรายได้ ค่าใช้จ่ายต่างๆ และจำนวนกำไรหรือขาดทุน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางภาษีอากรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ในอันที่จะป้องกันมิให้เกิดปัญหาภาษีอากรไม่ว่าประการใดๆ โดยมุ่งหมายให้การเสียภาษีอากรและการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากรขององค์กรเป็นไปโดยถูกต้อง และครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายภาษีอากรกำหนดไว้ และเป็นผลให้จำนวนภาษีอากรที่ต้องเสียนั้น เป็นจำนวนน้อยที่สุดหรือประหยัดที่สุด รวมทั้งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุด ทั้งนี้ โดยไม่อาศัยการทุจริตหลีกเลี่ยงภาษีอากร

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์