สรุป Timeline สำหรับยื่นภาษีและงบการเงิน 2566

สรุป Timeline สำหรับยื่นภาษีและงบการเงิน 2566

สำหรับ "บริษัทจำกัด" ที่มีวันสิ้นรอบปีบัญชี คือ 31 ธันวาคม 2566 จะต้องปิดงบการเงิน ยื่นงบการเงิน และยื่นภาษีบริษัทประจำปี ภายในวันสุดท้ายดังนี้



ก่อนวันที่ 29 ก.พ.2567

  • ยื่นภ.ง.ด.1ก (สรุปการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง ภาษีของพนักงาน ฯลฯ ตลอดปี)

ก่อนวันที่ 30 เม.ย. 2567

  • ประชุมผู้ถือหุ้น (4 เดือนหลังวันสิ้นรอบปัญชี)
ก่อนวันที่ 31 มี.ค. 2567
  • ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.90/91)

ก่อนวันที่ 14 พ.ค. 2567

  • ยื่นรายชื่อผู้ถือหุ้น (บ.อ.จ.5) (ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น)

ก่อนวันที่ 30 พ.ค. 2567

  • ยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50) (150 วันหลังวันสิ้นรอบ)

ก่อนวันที่ 31 พ.ค. 2567

  • ยื่นงบการเงิน (ภายใน 1 เดือน นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น)

ที่มา เพจ บัญชีรู้ไว้ใช่ว่า
 714
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

สำหรับหลักการบัญชีคู่นั้นหมายถึงการบันทึกรายการบัญชีทั้งสองด้าน ด้วยการเดบิตและเครดิตอย่างน้อยสองบัญชีขึ้นไป ด้วยการนำสมการบัญชีมาใช้ด้วยการลงทั้งสองด้านนั้นจะต้องมียอดเท่ากัน แต่ไม่จำเป็นที่จะต้องมีจำนวนบัญชีที่เท่ากัน
คณะกรรมการกำหนดแนวปฏิบัติทางการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ได้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) และสมาคมอุตสาหกรรมซอฟท์แวร์ไทยได้ร่วมกันเผยแพร่ระบบบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดย่อมโดยเน้นไปที่ธุรกิจที่มีขนาดเล็กมาก หรือ ธุรกิจขนาดจิ๋ว
การจ้างสำนักงานบัญชีเพื่อช่วยจัดการเรื่องภาษีและบัญชีเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับผู้ประกอบการ SMEs แต่ก็มีความเสี่ยงที่ผู้ประกอบการต้องระวังในการเลือกสำนักงานบัญชี โดยเฉพาะความเสี่ยงที่สำนักงานบัญชีอาจมีพฤติกรรมไม่ซื่อสัตย์หรือโกงภาษี ซึ่งอาจทำให้ธุรกิจของคุณได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ข้อควรระวังในการจ้างสำนักงานบัญชี
กิจการขนาดเล็กมักมีข้อจำกัดเรื่องเงินทุนหมุนเวียนรวมทั้งกำลังคน การจัดวางพนักงานในหน้าที่ต่างๆจึงไม่ค่อยมีการแบ่งแยกหน้าที่ พนักงานหนึ่งคนต้องรับผิดชอบงานหลายอย่างและอย่าได้หวังว่าจะมีแผนกต่างๆเหมือนองค์กรขนาดใหญ่

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์