ธุรกิจซื้อมาขายไป

ธุรกิจซื้อมาขายไป


แนวทางการบันทึกบัญชี ธุรกิจซื้อมาขายไป การขายสินค้าออนไลน์

ธุรกิจซื้อมาขายไป ประกอบด้วย รายได้ และค่าใช้จ่ายรายได้ที่ต้องไปเสียภาษีมูลค่าเพิ่มคือ

1.มีการส่งสินค้า
Dr ลูกหนี้
Cr รายได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม

2.ลูกค้าโอนเงินก่อนส่งสินค้า
Dr เงินฝากธนาคาร
Cr เงินมัดจำ
ภาษีขาย
 
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ประเภท คือ

1 ต้นทุนขาย ประกอบด้วย
1.1 สินค้าสำเร็จรูป
1.2 ค่าวัสดุหีบห่อ
1.3 ค่าขนส่ง
1.4 ค่าธรรมเนียมการนำเข้า
1.5 ค่าบริการการนำเข้า
1.6 ค่าโฆษณา facebook google
1.7 ค่าทำเวปไซด์
1.8 ค่าจ้างแรงงาน
1.9 ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย กรณีขาย ผ่าน shopee หรือ lazada
1.10.ค่าไฟฟ้า โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต

2.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ประกอบด้วย
2.1 เงินเดือน
2.2 ค่าประกันสังคม
2.3 ค่าคอมมิชชั่น
2.4 ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์
2.5 ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์สำนักงาน
2.6 ค่าน้ำประปา
2.7 ค่าวัสดุสิ้นเปลือง
2.7 ค่าน้ำมัน ค่าทางด่วน
2.8 ค่าธรรมเนียมธนาคาร

กรณีจ่ายค่าใช้จ่ายทุกครั้ง ควรจ่ายเป็นเช็ค หรือโอนเงินผ่านธนาคาร และเก็บสลิปไว้เป็นหลักฐาน แนบกับใบสำคัญจ่ายไว้บันทึกบัญชี

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!


ที่มา :Link

 667
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

สินทรัพย์บางอย่างไม่มีตัวตนซึ่งหมายความว่าไม่มีลักษณะทางกายภาพ อย่างไรก็ตามรายการดังกล่าวยังคงต้องถูกหักภาษีโดยรัฐบาลบางแห่ง ตัวอย่างของสินทรัพย์ที่ต้องใช้ภาษีประเภทนี้ ได้แก่ ลิขสิทธิ์สิทธิบัตรและความลับทางการค้าเพื่อตั้งชื่อไม่กี่รายการ ตามธรรมชาติแล้วภาษีไม่มีตัวตนเป็นรูปแบบของภาษีการขายตามปกติจะกำหนดเมื่อมีการขายสินทรัพย์ทางกฎหมายหรือการแข่งขัน อัตราภาษีมักถูกกำหนดโดยการเพิ่มเปอร์เซ็นต์ของมูลค่ารายการซึ่งโดยปกติจะอยู่ระหว่างหนึ่งถึงสิบเปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการค้าปลีก แต่กฎนี้อาจแตกต่างกันระหว่างรัฐบาล
นอกจากใบเสร็จรับเงิน หรือบิลเงินสด ที่ใช้เป็นหลักฐานว่าได้จ่ายเงินให้กับผู้ขายแล้วนั้น ยังมีเอกสารอื่นที่ใช้ได้ก็คือ ใบสำคัญรับเงินและใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงินนั่นเอง
การ outsource งานทำบัญชี เป็นอีกหนึ่งทางเลือก ที่ช่วยลดต้นทุนให้กับกิจการได้ เพราะเมื่อเทียบกับการจ้างพนักงานบัญชีประจำกิจการแล้ว การ outsource จ้างผู้รับจ้าทำบัญชีภายนอก มักจะมีต้นทุนที่ต่ำกว่า   วันนี้เราจะมาดูกันว่า ผู้ให้บริการทำบัญชี นั้นมีกี่แบบ  เพื่อที่ผู้ประกอบการจะได้พิจารณาเลือกแบบที่คิดว่าเหมาะสมกับกิจการตน
ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning คือ ระบบที่ใช้ในการจัดการและวางแผนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร โดยจะเชื่อมโยงระบบงานต่างๆ ขององค์กรไว้ในที่เดียวกัน เพื่อให้เป็นระบบมาตรฐานเดียวกัน ทั้งระบบจัดซื้อ ระบบบัญชี ระบบการบริหาร และระบบการจัดการบุคคล มีจุดประสงค์เพื่อให้มีการบริหารและใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์