ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล

ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล


“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
?”

ปัจจุบันถ้ากล่าวถึงผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  (Information System Auditor)  หลายท่านอาจเกิดความสงสัยว่าอาชีพนี้มีหน้าที่ต้องทำอะไรบ้าง

ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยประเภทหลักๆ

1.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอิสระหรือภายนอก (External IS Auditor)
2.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภายใน (Internal IS Auditor)
3.ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกรณีพิเศษ (Special IS Auditor)



“ความสำคัญของ IT Audit ในยุคดิจิทัล” ดังนั้นจะเห็นได้ว่าผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนสำคัญของหน่วยงาน ที่จะช่วยนำองค์กรบรรลุเป้าหมายขององค์กร

“สิ่งสำคัญของผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยี”

       ทักษะและความรู้ (Skill and Knowledge)
ของผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศถือว่าเป็นส่วนสำคัญมาก



“ผู้ตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องมีประกอบด้วย 2 ส่วน”

1.ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ที่จำเป็นต้องมี เช่น วิสัยทัศน์ขององค์กร, กระบวนการตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, การบริหารความเสี่ยง, กระบวนการทางธุรกิจ,  ความมั่นคงปลอดภัยทางด้านสารสนเทศ,การวิเคราะห์เชิงทำนาย, ปัญญาประดิษฐ์

2.ทักษะ (Skill)

ทักษะที่จำเป็นต้องมี เช่น ทักษะทางด้านการคิดและการใช้เหตุผล,ทักษะด้านอารมณ์ ความรู้สึก, ทักษะด้านภาษา, ทักษะในการแสวงหาความรู้, ทักษะด้านการจัดการ, ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ, ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น, การติดต่อสื่อสาร และการเขียน/อ่าน เอกสารและรายงาน

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิ๊ก!



ขอบคุณบทความจาก : www.spu.ac.th 
 540
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

ประเภทของธุรกิจสามารถแบ่งได้เป็นแบบบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล สำหรับคนที่ทำธุรกิจ ต้องทราบว่าธุรกิจของตนเองจัดอยู่ในประเภทไหน
อ้างอิงจากประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง  กำหนดชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี ระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชี  และเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี พ.ศ.2544 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 7 (1) (2) (3) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติการบัญชีพ.ศ. 2543 อธิบดีกรมทะเบียนการค้าออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
แนวทางการบันทึกบัญชี ธุรกิจซื้อมาขายไป การขายสินค้าออนไลน์
ทุกครั้งที่นิติบุคคลจ่ายค่าบริการ จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป  กรณีลืมหักภาษี ณ ที่จ่าย จะสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้หรือไม่? หลักการพิจารณาให้แยกพิจารณาทีละภาษี
กฎหมาย E-payment คือ ? พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) พ.ศ. 2562 เกิดขึ้นเพื่อรองรับระบบภาษี และเอกสารธุรกรรมทางการอิเล็กทรอนิกส์

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์