sale@onlinesoft.co.th
02-402-6117
,
081-359-6920
Menu
Home
Products
Sales Order - ระบบขาย
Purchase Order - ระบบจัดซื้อ
Accounts Receivable - ระบบบัญชีลูกหนี้
Accounts Payable - ระบบบัญชีเจ้าหนี้
Inventory Control - ระบบสินค้าคงเหลือ
General Ledger - ระบบบัญชีแยกประเภท
Financial Management - ระบบงบการเงิน
Budget Control - ระบบควบคุมงบประมาณ
Cheque and Bank - ระบบเช็คและธนาคาร
Import & Export - ระบบนำเข้าและส่งออกข้อมูล
Multi-Currency - ระบบอัตราแลกเปลี่ยนสกุล
Value Added Tax - ระบบภาษี
Audit & Internal Control - ระบบตรวจสอบและควบคุมภายใน
Fixed Assets - ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคา
Payroll - ระบบคำนวณเงินเดือน
ESS ระบบลาออนไลน์
Services
จองอบรม Online
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
Partners
โครงการ Partners สำนักงานบัญชี
ลูกค้าอ้างอิง
News
ข่าวสาร
บทความบัญชี
บทความบริหาร
About Us
เกี่ยวกับเรา
แนวคิดการบริหาร
Office Location
ร่วมงานกับเรา
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ทดลองใช้งาน
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
บทความบัญชี
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
อยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีต้องทำอย่างไร
ย้อนกลับ
ในปัจจุบันสายงานตรวจสอบบัญชีได้รับความนิยมจากผู้ที่จบการศึกษาด้านการบัญชีและเป็นที่ต้องการอย่างมาก เนื่องจากกฎหมายระบุว่าให้งบการเงินของทุกบริษัทจะต้องผ่านการรับรองจากผู้ตรวจสอบบัญชีหรือ Certified Public Accountant (CPA) ซึ่งผู้ตรวจสอบบัญชีจะเป็นบุคคลภายนอกซึ่งเข้าไปทำหน้าที่ตรวจสอบงบการเงินของบริษัท และแสดงความเห็นต่องบการเงินว่าเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดไว้หรือไม่ เพื่อที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่จะนำงบการเงินไปใช้ว่างบการเงินมีความถูกต้องและเที่ยงธรรม โดยก่อนที่จะสามารถทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีได้นั้นจะต้องผ่านกระบวนการฝึกหัดงานรวมไปถึงผ่านการทดสอบการหลายวิชา
ซึ่งในปัจจุบันสภาวิชาชีพบัญชีกำหนดให้มีการทดสอบจำนวน 6 วิชา ได้แก่ วิชาบัญชี1 วิชาบัญชี 2 วิชาสอบบัญชี 1 วิชาสอบบัญชี 2 วิชากฎหมาย วิชากฎหมายภาษี นอกจากจะต้องสอบผ่านทั้งหมดทั้ง 6 วิชาแล้ว ผู้ที่ต้องการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตยังต้องเข้ารับการฝึกหัดงานด้านการสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต โดยต้องมีระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า 3 ปี และมีชั่วโมงในการทำงานเกินกว่า 3,000 ชั่วโมงอย่างต่อเนื่องถึงจะสามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีได้ โดยผู้ที่มีความใฝ่ฝันอยากเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีนั้นจะต้องทำการยื่นเอกสารแจ้งการฝึกหัดงานกับทางสภาวิชาชีพบัญชี โดยการสอบ CPA นั่นถือเป็นการสอบเพื่อที่จะได้รับใบอนุญาตในการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี นอกจากนี้ CPA ยังเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับตัวผู้ตรวจสอบเองว่า มีความรู้ความสามารถทางบัญชีเป็นอย่างดี เนื่องจากต้องผ่านการทดสอบที่ค่อนข้างยากถึง 6 วิชา ประกอบกับการต้องฝึกงานมากกว่า 3,000 ชั่วโมง อีกทั้งยังจะช่วยเพิ่มความเจริญก้าวหน้าในสายงานด้านบัญชีอีกด้วย ทั้งนี้นอกจากคุณสมบัติด้านวิชาการที่ยอดเยี่ยมแล้ว การจะเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีที่ดีได้นั้นจะต้องคงไว้ซึ่งจรรยาบรรณและการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่อง
เลือกซื้อ Software บัญชี สำหรับสำนักงานบัญชี Click
บทความโดย : http://www.accvenue.com/
ผู้ตรวจสอบบัญชี
บัญชี
วิชาบัญชี
สอบบัญชี
งบการเงิน
1925
ผู้เข้าชม
บทความที่เกี่ยวข้อง
ที่ปรึกษาด้านภาษีสำคัญอย่างไรกับธุรกิจ
ที่ปรึกษาด้านภาษีสำคัญอย่างไรกับธุรกิจ
เรื่องของบัญชีและภาษีได้อยู่ควบคู่กับธุรกิจมาอย่างยาวนาน ผู้ที่ทำธุรกิจควรมีความรู้และความเข้าใจในบัญชีและภาษีในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการทำบัญชีเบื้องต้นและการยื่นภาษีอากร แม้ว่าคุณจะไม่ได้ทำหน้าที่เหล่านั้นด้วยตัวคุณเอง แต่ในฐานะที่คุณทำธุรกิจมันจำเป็นอย่างยิ่งที่คุณจะต้องเข้าใจในระดับหนึ่ง
หมายเหตุประกอบงบการเงินคืออะไร จำเป็นต้องทำหรือไม่
หมายเหตุประกอบงบการเงินคืออะไร จำเป็นต้องทำหรือไม่
หมายเหตุประกอบงบการเงิน คือ รายการที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมจากงบการเงิน เช่น นโยบายการทำบัญชีและเกณฑ์การจัดทำงบการเงิน ข้อมูลเพิ่มเติมที่ไม่ได้แสดงอยู่ในงบการเงิน นโยบายการทำบัญชี เป็นสิ่งที่ทำให้งบการเงินของแต่ล่ะกิจการมีความแตกต่างกันดังนั้นผู้ใช้งาน งบการเงินจะต้องอ่านก่อนว่ากิจการนั้น ใช้เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน แบบใดก่อนที่จะอ่านงบการเงิน
ต้นทุนแฝง (Hidden Cost) คืออะไร
ต้นทุนแฝง (Hidden Cost) คืออะไร
ต้นทุนแฝง (Hidden cost) ถือเป็นภัยเงียบของการทำธุรกิจเลยก็ว่าได้ หลายบริษัทไม่ได้ให้ความสำคัญ หรือมีแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับต้นทุนแฝงที่จริงจังมากพอ รู้ตัวอีกทีก็ขาดทุนติดต่อกันหลายเดือนทีเดียว ในบทความนี้ Moneywecan จะพาผู้อ่านทุกท่าน ไปทำความรู้จักเกี่ยวกับต้นทุนแฝงกันให้มากขึ้นค่ะ
e Invoice และ e Tax invoice คืออะไรต่างกันอย่างไร
e Invoice และ e Tax invoice คืออะไรต่างกันอย่างไร
e Invoice และ e Tax invoice ถือว่าเป็นสองคำที่หลาย ๆ คนคุ้นหู วันนี้เราจะมาเจาะข้อสงสัยว่าสองคำนี้คืออะไร มีความหมายว่าอย่างไร และใช้ในสถานการณ์ใดบ้าง
มาทำความรู้จักกับใบสั่งขาย (Sale Order)
มาทำความรู้จักกับใบสั่งขาย (Sale Order)
ใบสั่งขาย (Sale Order)หมายถึง การบันทึกรายการสั่งขายสินค้าหรือบริการ เพื่อเป็นการยืนยันการซื้อสินค้าของลูกค้า เริ่มจากเมื่อลูกค้ามีความต้องการสั่งซื้อสินค้า ฝ่ายขายจะตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เช่น จำนวนสินค้าคงเหลือ จำนวนสินค้ากำลังผลิต จำนวนสินค้าที่ถูกจอง หรือข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า เช่น ประวัติการชำระเงิน หรือวงเงินเครดิต เพื่อยืนยันว่าสามารถขายสินค้าให้กับลูกค้ารายนี้ได้หรือไม่ เมื่อมีการตกลงการซื้อขาย ฝ่ายขายจะเริ่มสร้างคำสั่งขาย หากมีสินค้าอยู่ในคลังแล้ว ระบบจะเข้าไปจองสินค้าให้ แต่ถ้าสินค้าไม่พอระบบจะใช้เป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนการสั่งซื้อหรือผลิตต่อไป
เช็กก่อน “ยื่นภาษี” ผิด สินค้าไหนไม่ต้องนำมารวมคำนวณฐาน “ภาษีมูลค่าเพิ่ม”
เช็กก่อน “ยื่นภาษี” ผิด สินค้าไหนไม่ต้องนำมารวมคำนวณฐาน “ภาษีมูลค่าเพิ่ม”
เพื่อไม่ให้คิดภาษีมูลค่าเพิ่มผิดพลาด และต้องจ่ายภาษีมากกว่าที่ควรจะเป็น เราไปดูเช็กลิสต์รายการสินค้าแบบไหนบ้างที่ไม่ต้องนำมาคำนวณฐานภาษีกันค่ะ
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com